วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2555

Chapter 5


Chapter 5 



1.ความต้องการของผู้ใช้ (User)
2. ความต้องการด้านระบบ (System Requirement)

ความต้องการด้านซอฟต์แวร์ แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่
1. ความต้องการทีเป็ นหน้าทีหลัก(Functional Requirement)
เป็นความต้องการทีเป็นหน้าทีหลัก ซึ่งทําหน้าทีใดๆตามทีกําหนดไว้ในส่วนการทํางานหรือบริการทีซอฟต์แวร์นันควรมี
2. ความต้องการทีไม่ใช่หน้าทีหลัก (Non-Functional Requirement)
เป็ นความต้องการทีไม่เกียวข้องโดยตรงกับหน้าทีหรือฟังก์ชันหลักของระบบ เช่นความต้องการด้านผลิตภัณฑ์ความต้องการขององค์กร และความต้องการจากปั จจัยภายนอก
3. ความต้องการด้านธุรกิจ (Domain Requirement)
เป็นความต้องการทีเกี่ยวข้องกับงานหลักของระบบธุรกิจทีต้องการซอฟต์แวร์มาสนับสนุนโดยเฉพาะซึ่งอาจเป็ นเงือนไขของฟังก์ชันใดๆหรือเงือนไขที่ใช้คํานวณหาผลลัพธ์ใดๆ ของระบบ

วิศวกรรมความต้องการ (Requirement Engineering) 
หมายถึง กระบวนการทีจะทําให้วิศวกรรมซอฟต์แวร์เข้าใจและเข้าถึงความ้องการของลูกค้าได้อย่างแท้จริง
ด้วยการสกัดความต้องการ ตรวจสอบและนิยามความต้องการเพื่อนําไปสร้างเป็นข้อกําหนดความต้องการด้านระบบหรือซอฟต์แวร์

เป้าหมายของวิศวกรรมความต้องการ ก็คือ
การสร้างและบํารุงเอกสารข้อกําหนดความต้องการทั้งทางด้านระบบและด้านซอฟต์แวร์ให้เป็นเอกสารทีมีคุณภาพทีสุด

ข้อแนะนำในการเขียนความต้องการ
1. เขียนเป็นลักษณะโครงสร้างที่เป็นมาตรฐานนำไปใช้ได้ทุก RQ
2. ใช้ภาษาคงเส้นคงวา และมีศัพท์ 2 คำ คือจะต้อง และควรจะ
3. การใช้ตัวบางตัวหนา
4. หลีกเลี่ยงการใช้ศัพท์เทคนนิคเพราะมีคนหลายกลุ่ม

Sequence Diagram ใช้จําลองภาพเชิงกิจกรรม (Dynamic Model หรือ Behavioral Model)
- การจําลองกระบวนการที่ทําให้เกิดกิจกรรมรวมของระบบ
- กิจกรรมรวมของระบบ เกิดจาก ชุดของกิจกรรม (หลายๆ กิจกรรม)
- 1 กิจกรรม เกิดจาก Object หนึ่งมีการโต้ตอบกับอีก Object หนึ่ง

ประโยชน์ของ Sequence Diagram
- ช่วยให้รู้ว่า มี Function ขาดหายไปจาก Class Diagram หรือไม่
- ช่วยให้พิจาณาได้ว่าควรเพิ่มเติม Function ใน Class Diagram อีกหรือไม่
- ช่วยให้ปรับปรุง Class Diagram ได้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ตัวอย่าง 
Sequence Diagram

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น